สายเฮลท์ตี้ต้องไม่พลาด เคล็ดลับสุขภาพดีสายเฮลท์ตี้ กิฟฟารีน ออนไลน์ ที่นี่...เราเป็นเจ้าของธุรกิจร่วมกัน
Giffarine by นวพร
ช้อปเมื่อไรก็ได้ พร้อมสิทธิมากมาย
กิฟฟารีน ออนไลน์
ที่นี่...เราเป็นเจ้าของธุรกิจร่วมกัน
โทร. 0816892160
ไลน์ ไอดี: noonavaporn

  0 Cart
เราจะรู้ได้ไงว่าเป็นโรคกระเพาะ???
อาการโรคกระเพาะอาหารอักเสบ

              ปวด เสียด ตื้อ จุก และแน่นบริเวณใต้ลิ้นปี่ ปวดท้อง รู้สึกไม้สบายช่องท้องส่วนบน ท้องอืด ท้องเฟ้อ เรอบ่อย ปวดท้องก่อนและหลังรับประทานอาหาร


รู้ได้ไงว่าเป็นแผลในกระเพาะ!!!

ปวดท้องแบบนี้ คุณอาจเป็น “แผลในกระเพาะอาหาร” 

              สังเกตอาการเหล่านี้ หากคุณกำลังปวดท้องแบบนี้ คุณอาจเสี่ยงโรคแผลในกระเพาะอาหาร ปวดแสบ ปวดร้อนในกระเพาะอาหาร ตำแหน่งระหว่างหน้าอก

และสะดือ โดยอาจปวดเมื่อท้องว่างระหว่างมื้ออาหาร ปวดกลางดึก หรือเวลาใดก็ได้ ปวดท้องมาก โดยเฉพาะหลังรับประทานอาหารรสเผ็ดจัด อาการปวดมักเป็นๆ

 หายๆ
โรคกระเพาะอาหาร 
(Stomach disease)

       ◉ Stomach disease โรคกระเพาะ เป็นโรคที่พบได้บ่อยโรคหนึ่ง หมายถึงแผลที่เกิดในเยื่อบุกระเพาะอาหารที่สัมผัสกับน้ำย่อยของกระเพาะอาหาร โดยการเกิดแผลในกระเพาะมักพบในวัยกลางคน ขณะที่การเกิดแผลที่ลำไส้เล็กส่วนต้นจะพบในวัยหนุ่มสาว


◉ โรคกระเพาะอาหาร (Stomach disease)
โรคกระเพาะ เป็นโรคที่พบได้บ่อยโรคหนึ่ง หมายถึงแผลที่เกิดในเยื่อบุกระเพาะอาหารที่สัมผัสกับน้ำย่อยของกระเพาะอาหาร โดยการเกิดแผลในกระเพาะมักพบในวัยกลางคน ขณะที่การเกิดแผลที่ลำไส้เล็กส่วนต้นจะพบในวัยหนุ่มสาว อย่างไรก็ตามการเกิดแผลในกระเพาะอาหารหรือแผลที่ลำไส้เล็กส่วนต้นสามารถเกิดขึ้นได้ในคนทุกเพศและทุกวัย

◎ ผู้ที่เป็นโรคกระเพาะอาหารต้องได้รับการรักษาอย่างถูกต้องและต่อเนื่อง เพราะหากละเลยอาการจนในที่สุดจากอาการปวดท้องเพราะกรดในกระเพาะอาหาร อาจมีภาวะแทรกซ้อนเลือดออกในกระเพาะอาหาร กระเพาะลำไส้เป็นแผลทะลุ เป็นต้น


◉ สาเหตุที่มาของโรคกระเพาะอาหาร
          เกิดจากการเสียสมดุลของกรดที่หลั่งออกมา มากเกินไปร่วมกับความต้านทานต่อกรดของเยื่อบุกระเพาะอาหาร และลำไส้ลดลง ไปทำลายเยื่อบุกระเพาะอาหาร จึงทำให้มีแผลเกิดขึ้น และปัจจุบันพบว่ายังมีปัจจัยเสริมอื่นๆที่ทำให้เกิดโรคได้อีก

◎ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเกิดโรคที่พบมากในปัจจุบัน คือ การใช้ชีวิต ความเครียด ความกังวล ที่พบได้บ่อยในสังคมการทำงาน รวมถึงวิถีชีวิตในด้านการรับประทานอาหารที่ไม่ดีและการละเลยสุขภาพ เช่น การรับประทานอาหารไม่ตรงเวลา การอดอาหาร การรับประทานอาหารรสจัดเป็นประจำ การสูบบุหรี่ การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การรับประทานยาแก้ปวดจำพวก Aspirin ยาลดการอักเสบเป็นประจำ และอีกหนึ่งสาเหตุของโรคที่สำคัญ คือ การติดเชื้อเฮลิโคแบคเตอร์ ไพโลไร หรือเรียกย่อๆ ว่า เอชไพโลไร (Helicobacter pylori หรือย่อว่า H.pylori) มีการถ่ายทอดจากคนสู่คน จากการรับประทานอาหาร เชื้อจะเข้าสู่กระเพาะอาหารและเลื่อนเข้าสู่เซลล์เยื่อบุผิว ซึ่งเชื้อนี้เป็นปัจจัยเสี่ยงในการเกิดรคมะเร็งกระเพาะอาหาร

◉ อาการเมื่อเป็นโรคกระเพาะ
➣ ปวดท้องแบบปวดแสบ ปวดตื้อ จุกเสียดหรือจุกแน่นบริเวณใต้ลิ้นปี่ หรือช่องท้องส่วนบนหรือสะดือ อาการมักสัมพันธ์กับมื้ออาหาร ก่อนหรือหลังรับประทานอาหาร และเวลาท้องว่าง เช่น เวลาหิวข้าว ตอนเช้ามืดหรือตอนดึกๆก็ปวดท้องได้เช่นกัน อาการปวดจะเป็นๆหายๆ เป็นได้วันละหลายๆครั้ง หรือตามมื้ออาหาร และแต่ละครั้งที่ปวดจะนานประมาณ 15 – 30 นาที อาการปวดจะบรรเทาลงได้ถ้ารับประทานอาหาร ดื่มนมหรือรับประทานยาลดกรด
➣ คลื่นไส้ อาเจียน อิ่มง่าย
➣ อาเจียนเป็นเลือด (ในรายที่สงสัยแผลในกระเพาะอาหาร)

◉ การรักษาและการดูแลตนเองของผู้ที่เป็นโรคกระเพาะอาหาร

◉ การรับกระทานยาร่วมกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิต ได้แก่

➣ รับประทานยาต่อเนื่องตามที่แพทย์กำหนดอย่างเคร่งครัด
➣ ไม่ควรปล่อยให้ท้องว่างมากเกินไป รับประทานอาหารให้ตรงเวลาทุกมื้อ
➣ รับประทานอาหารอ่อน ย่อยง่าย กินช้าๆ
➣ ทุกครั้งที่รับประทานอาหารควรเคี้ยวให้ละเอียด
➣ รับประทานอาหารในปริมาณที่ไม่มากเกินไป
➣ งดบุหรี่ แอลกอฮอล์ ชา กาแฟหรือเครื่องดื่มกาเฟอีน น้ำอัดลม
➣ ควรหลีกเลี่ยงอาหารและเครื่องดื่มที่กระตุ้นให้เกิดอาการปวดท้อง เช่น อาหารรสจัด เผ็ดจัด เปรี้ยวจัด ของหมักดอง เครื่องดื่ม แอลลกอฮอร์ ชา กาแฟ น้ำอัดลม
➣ หลีกเลี่ยงการใช้ยาที่ระคายเคืองกระเพาะอาหาร หลีกเลี่ยงการใช้ยาแอสไพริน ยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่เสตอรอยด์ ยาสเตอรอยด์ และปรึกษาแพทย์ทุกครั้งที่ใช้ยา
➣ หลีกเลี่ยงความเครียด ความกังวล พักผ่อนให้เพียงพอ
➣ หมั่นออกกำลังกาย
➣ รับประทานยาลดกรด ยาน้ำ 1 - 2 ช้อนโต๊ะ หรือยาเม็ด 1 - 2 เม็ด (เคี้ยวก่อนกลืน) วันละ 4 ครั้ง เช้า กลางวัน เย็นหลังอาหาร 1 ชั่วโมง และก่อนนอน กรณีมีอาการปวดท้องก่อนเวลายาสามารถรับประทานเพิ่มได้และควรรับประทานยาติดต่อกันนานอย่างน้อย 4 - 8 สัปดาห์

ขมิ้นชันรักษาแผลในกระเพาะอาหารได้ไหม
              ขมิ้นชัน คือสมุนไพรพื้นบ้านของไทยที่ได้รับการยกย่องให้เป็น “Wonder of drugs” หรือมหัศจรรย์แห่งสมุนไพร เนื่องจากเคอร์คูมินอยด์ (Curcuminoids) สารสำคัญในขมิ้นชันสามารถใช้เพื่อการรักษาโรคต่างๆ ได้มากมาย โดย 1 ในนั้น คือการรักษาแผลในกระเพาะอาหาร

โรคกระเพาะอาหาร กินอะไรดี? ห้ามกินอะไรบ้าง?
◎➢ ทางเลือกหนึ่งที่อาจลดความเสี่ยงในการเกิดโรคกระเพาะได้...
◉ อาหารเพื่อสุขภาพโรคกระเพาะ
✔️ แกสตรา – เฮิร์บ (Gastra-Herb) ➢ ว่านหางจระเข้, ชะเอม
✔️ ขมิ้นชัน
✔️ AstaQ
✔️ น้ำมันปลา

นอกจากนี้ยังสามารถเลือกอาหารเพื่อสุขภาพที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ อื่น ๆ ที่มีสารอาหารที่มีประโยชน์ เพิ่มเติม เช่น

แกสตร้า-เฮิร์บสมุนไพรลดกรด ✔ มะขามป้อม ✔ มมิ้นชัน ✔ ขิง  ✔ ใบบัวบก / ✔ ทับทิม / ✔ น้ำทับทิม / ✔ โสม
◎➢ ทางเลือกหนึ่งที่อาจลดความเสี่ยงในการเกิดโรคกระเพาะได้...
◉ อาหารเพื่อสุขภาพโรคกระเพาะ 

แกสตร้า-เฮิร์บ
GASTRA-HERB





สารสกัดขมิ้นชัน
CURCUMA C-E MAXX





สารสกัด
AstaQ





สารสกัดจากใบบัวบก
GOTULA C-E





น้ำมันปลา (ขนาด 1,000 มก. บรรจุ 90 แคปซูล)
Fish Oil 1000






โสมแดงเกาหลี โสมอเมริกัน โสมไซบีเรีย
ทรีจี จินเส็ง (3G Ginseng)




   เพื่อการดูแลสุขภาพร่างกายอย่างถูกต้อง และทันเวลาก่อนจะเกิดการเรื้อรังของโรคต่าง ๆ

◎ ถ้านี่คือสิ่งที่คุณมองหาจากการ "ทํางานผ่านเน็ต"

√ อยากมีชีวิตที่ดีขึ้นกว่าเดิม มีเงิน มีเวลา มีความสุขในการใช้ชีวิต

√ อยากมีอิสระในการทำงาน ไม่ต้องออกจากบ้าน ก็สามารถสร้างธุรกิจได้
  
√ โอกาสในการพิชิตความฝัน บ้าน รถยนต์ และอื่น ๆ ที่อยากจะทำในชีวิต

√ รายได้ที่มั่นคง แม้หยุดพัก-หยุดทำ แต่ก็ยังคงมีรายได้ไหลเข้ามาตลอด
  
√ อยากมีธุรกิจเป็นของตัวเอง ที่สามารถส่งต่อให้กับทายาทของเราได้


  ส่วนหนึ่งของ ผลิตภัณฑ์กิฟฟารีน
สินค้าขายดี จาก แคตตาล็อก กิฟฟารีน ทั้งหมดกว่า 2,000 รายการ
ผลิตภัณฑ์อาหารเสริมเพื่อสุขภาพและคุณภาพชีวิต


ผลิตภัณฑ์
เพื่อความงาม


ผลิตภัณฑ์
เครื่องสำอาง


ผลิตภัณฑ์
ของใช้ส่วนตัว


ผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่ม


ผลิตภัณฑ์ของใช้
ในครัวเรือน



Giffarine by นวพร
ช้อปเมื่อไรก็ได้ พร้อมสิทธิมากมาย
สมัครสมาชิก กิฟฟารีน ออนไลน์
GIFFARINE
ที่นี่... เราเป็นเจ้าของธุรกิจร่วมกัน
Online Network Business Opportunity
สถิติผู้เยี่ยมชม
วันนี้ 1
เมื่อวานนี้ 43
เดือนนี้ 1613
ทั้งหมด 97545

Copyright © TonBab Giffarine